Right Up Corner

ad left side

วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

บ้านเชียง Ban Chiang ไทย Thailand

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87


แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง[1] เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง อยู่ที่อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี
ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่ มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้าง สังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีก กว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาติจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่ง วัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก

ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา


ภาชนะดินเผา
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ของบ้านเชียงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่
  1. ภาชนะดินเผาสมัยต้น อายุ 5,600-3,000 ปี มีลายเชือกทาบ ซึ่งคาดกันว่าเป็นปอกัญชา ทั้งยังมีลายขูดขีด และมีการเขียนสีบ่า โดยพบวางคู่กับโครงกระดูก บางใบใช้บรรจุศพเด็กด้วย
  2. ภาชนะดินเผาสมัยกลาง อายุ 3,000 ปี-2,300 ปี สมัยนี้เป็นสมัยที่เริ่มมีการขีดทาสีแดงแล้ว
  3. ภาชนะดินเผาสมัยปลาย อายุ 2,300 ปี-1,800 ปี เป็นยุคที่มีลวดลายที่สวยงามที่สุด ลวดลายพิสดาร สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมที่สงบสุข ก่อนที่จะกลายมาเป็นการเคลือบน้ำโคลนสีแดงขัดมัน

[แก้] สำริด

ชาวบ้านเชียงโบราณนิยมทำเครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องประดับจากสำริดในระยะแรก ก่อนที่จะรู้จักใช้เหล็ก ชาวโพลีนีเซียมีหลักฐานว่านิยมใช้สำริดเช่นกัน ใช้ทำเป็นกลองมโหระทึก


วัฒนธรรมบ้านเชียงสมัยก่อนประวัติศาสตร์
      บ้านเชียงเป็นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งค้นพบว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยและที่ฝังศพของคนก่อนประวัติศาสตร์ยุคโลหะ เมื่อราว 5,000 กว่าปีมาแล้ว มีความเจริญก้าวหน้าทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสูงมาแต่โบราณ ชาวบ้านเชียงโบราณเป็นชุมชนยุคโลหะที่รู้จักทำการ เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ นิยมทำเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับจากสำริดในระยะแรก และรู้จักใช้เหล็กในระยะต่อมาแต่ก็ยังคงใช้สำริดควบคู่ กันไป
      ชาวบ้านเชียงรู้จักทำเครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะสีเทาทำเป็นลายขูดขีด ลายเชือกทาบ และขัดมัน รู้จักทำภาชนะดินเผาลายเขียนสี รูปทรงและลวดลายต่าง ๆ มากมาย กรมศิลปากรได้ส่งเครื่องปั้นดินเผาที่ขุดพบที่บ้านเชียงนี้ไปตรวจสอบคำนวนหาอายุโดยใช้วิธีเทอร์โมลูมิเนสเซนส์ (Thermolumines Cense) ที่ห้องปฏิบัติการของพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีอายุประมาณ 5,000-7,000 ปี ซึ่งเครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสีที่พบที่บ้านเชียงนี้ นับว่ามีอายุเก่าแก่กว่าที่ค้นพบที่ประเทศสาธารณรัฐจีน จากความเห็นและการสันนิษฐานของนายชิน อยู่ดี ภัณฑารักษ์พิเศษของกรมศิลปากรได้ให้ความเห็นว่า “……..เป็นเครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสีที่เก่าแก่ที่สุดในทวีปเอเชียอาคเนย์……”และอาจจะเก่าแก่ที่สุดในโลกก็เป็นได้

     นอกจากนั้นชาวบ้านเชียงโบราณยังรู้จักทำเครื่องจักสาน ทอผ้า มีประเพณีการฝังศพ ฝังสิ่งของเครื่องใช้ อาหาร รวมกับศพเป็นการอุทิศให้กับผู้ตายสิ่งของที่เป็นโบราณวัตถุ ซึ่งได้จากการสำรวจรวบรวมและขุดค้นที่บ้านเชียงรวมแหล่งใกล้เคียง เช่น ขวาน ใบหอก มีด ภาชนะดินเผา ทั้งที่เขียนสีและ ไม่เขียนสี และดินเผา ลูกกลิ้งดินเผา แม่พิมพ์หินใช้หล่อเครื่องมือสำริดทำจากหินทราย เบ้าดินเผา รูปสัตว์ดินเผา ลูกปัดทำจากหินสี แก้วกำไล และ แหวนสำริด ลูกกระสุนดินเผา ขวาน หินขัด และได้พบเศษผ้าที่ติดอยู่กับเครื่องมือสำริดแกลบข้าวที่ติดอยู่กับเครื่องมือเหล็ก เป็นต้น

     ชุมชนบ้านเชียงในสมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นชุมชนเกษตรกรรมยุคโลหะมีความเจริญก้าวหน้ามานานแล้ว สามารถแบ่งลำดับขั้น
วัฒนธรรมสังคมเกษตรกรรมที่บ้านเชียงออกเป็น 6 สมัย โดยกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์วิธีคาร์บอน 14 ว่าวัฒนธรรมสมัยที่ 1 หรือชั้นดินล่างสุดของ บ้านเชียงมีอายุประมาณ 5,600 ปีมาแล้ว จากการวิเคราะห์กระดูกสัตว์และเปลือกหอยทำให้มีความคิดว่า คนก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียงในระยะแรกได้เลือกตั้งถิ่นฐานในบริเวณป่าที่ถูกถางมีการเลี้ยงสัตว์ และล่าสัตว์ด้วยพอถึงสมัยที่ 4 เมื่อราว 3,600 ปีมาแล้ว รู้จักใช้เครื่องมือเหล็กเลี้ยงควาย เพื่อช่วยในการทำนาในสมัยที่ 5 เมื่อราว 3,000 ปีมาแล้ว มีการทำภาชนะดินเผาลาย  เขียนสีลงลายและรูปทรงหลายแบบ พอถึงสมัยที่ 6 จึงทำแต่ภาชนะดินเผาเคลือบสีแดงหรือเขียนสีบนพื้นสีแดง ทำเครื่องประดับที่มีส่วนผสมของโลหะที่มีความวาวมากขึ้น กำหนดอายุได้ราว 1,700 ปีมาแล้ว   จากการค้นพบแกลบข้าวที่ติดอยู่กับเครื่องมือเหล็ก การค้นพบเครื่องมือสำริด แม่พิมพ์เครื่องมือสำริด เบ้าดินเผาทำให้สามารถกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมบ้านเชียงมีความเจริญก้าวหน้าสูง รู้จักการใช้โลหะกรรมหล่อหลอมสำริดและ ปลูกข้าวที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ไม่น้อยกว่า 5,000 ปีมาแล้ว มีความเจริญทางวัฒนธรรมไม่เท่าเทียมกันทั้งประเทศ กล่าวคือขณะที่พวกที่อาศัย อยู่ทางแควน้อยและแควใหญ่ของจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ 3,700 ปี ใช้หินเป็นเครื่องมือและใช้หินกระดูกสัตว์และเปลือกหอยเป็นเครื่องประดับนั้น พวกที่อาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศมีความเจริญรุดหน้ากว่า รู้จักใช้สำริดมาทำเป็นเครื่องประดับและรู้จักใช้เหล็กทำเป็น เครื่องมือ…...” ซึ่งข้อสันนิษฐานดังกล่าวข้างต้นตรงกับข้อสันนิษฐานของศาสตราจารย์ ดร. โซเฮล์ม (DR. W.G.SOLHEIM) แห่งมหาวิทยาลัยฮาวายประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ได้ให้ความเห็นว่า

     “……..ความเจริญทางวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย จากการขุดค้นทางโบราณคดีพบว่าได้มีการใช้สำริดทำกันใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยก่อนแหล่งอื่นในโลกภาคตะวันออก คือประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสตศักราช คือประมาณ 4,472 ปีมาแล้ว ใกล้ เคียงกับเวลาที่ใกล้ที่สุดที่อาจเป็นไปได้ ที่บ้านเชียง……..”

ดูแบบ 360 องศา
http://www.world-heritage-tour.org/asia/southeast-asia/thailand/ban-chiang-museum/sphere-flash.html

แผนที่

View บ้านเชียง in a larger map

ทะเลสาบเกลือ ซาลาร์ เดอ อูยูนิ Salar de Uyuni โบลิเวีย Bolivia












ซาลาร์ เดอ อูยูนี เป็นทะเลสาบเกลือที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของโบลิเวีย ห่างจากกรุงลาปาซเมืองหลวง ประมาณ 185 ไมล์ ด้วยขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลมากถึง 10,582 ตารางกิโลเมตร หนังสือ คู่มือท่องเที่ยว "รัฟไกด์ส" จัดให้ "ซาลาร์ เดอ อูยูนี" เป็น 1 ใน 25 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ร่วมกับสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอย่าง กำแพงเมืองจีน ทัชมาฮาล และแกรนด์แคนยอน ยิ่งทำให้นักท่องเที่ยวอยากเข้าไปสำรวจ จนปีที่แล้ว มีนักท่องเที่ยวมาชมความงามถึง 60,000 คน 

ทำไมทะเลเกลือถึงได้มาอยู่ในประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล?
มีคนกล่าวไว้ว่าทะเลเหลือแห่งนี้แท้จริงแล้วเป็น ทะเลสาปที่มีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ค่ะ จนเวลาผ่านพ้นไปหลายๆปี หลังจากที่สภาพอากาศเริ่มแห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล สุดท้ายทะเลสาปเลยค่อยๆเหือดแห้ง จนกลายเป็นทะเลสาปที่มีเกลืออัดแน่นอยู่ประมาณ 10 พันล้านตันเลยทีเดียว แต่ก็ใช่ว่าจะไม่เหลือเค้าของทะเลสาปเลยเสียทีเดียว เพราะพื้นที่บางส่วนก็ยังมีน้ำเค็มๆหลงเหลือให้ชมอยู่บ้างค่ะ
 

เกลือเยอะๆแบบนี้เอามาใช้ประโยชน์อะไรเอ่ย?  
ปัจจุบันทะเลเกลือแห่งนี้ได้สร้างรายได้ให้กับโบลิเวียอย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากมีการจัดทำเป็นอุตสาหรรมเหมืองเกลือเป็นล่ำเป็นสันเลยทีเดียว แต่ไม่ว่าจะขนออกมาเท่าไหร่ ปริมาณของเกลือก็ยังไม่ลดน้อยลงไปเลยค่ะ
  
แผนที่

View ซาลาร์ เดอ อูยูนิ Salar de Uyuni in a larger map

ทะเลสาบไบคาล ไบคาน Lake Baikal รัสเซีย Russian

ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Lake_Baikal





ทะเลสาบไบคาล (อักษรโรมัน: Lake Baikal, อักษรซีริลลิก: о́зеро Байка́л) ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของไซบีเรีย ประเทศรัสเซียเป็นทะเลสาบที่ลึกที่สุดในโลก จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกกว่า 1,640 เมตร ทะเลสาบไบคาลเกิดจากการที่น้ำเอ่อล้นเข้ามาจนเต็มรอยเปลือกโลกที่แตกเมื่อ 25 ล้านปีที่แล้ว ทะเลสาบมีความยาวประมาณ 650 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ย 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 23,000 ตารางกิโลเมตร

วันนี้ขอนำเสนอเรื่อง ทะเลสาบไบคาล  เจ้าของสมญา " ดวงตาสีน้ำเงินแห่งไซบีเรีย " , " ไข่มุกแห่งไซบีเรีย " และ " กาลาปากอสรัสเซีย "
ไบคาล สามารถเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศได้สำเร็จ ตอนนี้ก็ต้องรอลุ้นกันต่อไป ว่าจะติด 1 ใน 7 หรือไม่
ทะเลสาบไบคาล ตั้งอยู่ทางใต้ของเขตไซบีเรีย มันโด่งดังจากการที่เป็นทะเลสาบน้ำจืดที่ลึกที่สุดในโลก โดยระดับความลึกสูงสุดอยู่ที่ 1,637 เมตร และเป็นแหล่งเก็บกักน้ำจืดใหญ่ที่สุดในโลก โดยประมาณแล้ว น้ำจืดบนพื้นผิวโลกจำนวน 20 เปอร์เซ็นต์ มารวมกันอยู่ที่ไบคาล แม้ว่าพื้นผิวของทะเลสาบจะมีอยู่แค่ 31,500 ตารางกิโลเมตร ซึ่งน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของทะเลสาบสุพีเรียร์ หรือทะเลสาบวิคตอเรีย และจริงๆแล้วปริมาณน้ำจืดของไบคาล ก็มากกว่าน้ำจืดของทะเลสาบที่ยิ่งใหญ่ในอเมริกาเหนือทุกแห่งรวมกันเสียอีก
ความ ยาวของทะเลสาบรูปพระจันทร์เสี้ยวแห่งนี้คือ 636 กิโลเมตร แต่จุดที่กว้างที่สุด กลับมีอยู่แค่ 80 กิโลเมตรเท่านั้น ไบคาลมีเกาะ 22 เกาะ โดยเกาะที่ใหญ่ที่สุด ยาว 72 กิโลเมตร
แถบ ทะเลสาบไบคาล เป็นที่อยู่อาศัยของพันธุ์พืช 1,085 สายพันธุ์ และสัตว์ 1,550 สายพันธุ์ และ 2 ใน 3 ของจำนวนดังกล่าว ไม่พบในที่อื่นใดในโลก ไบคาล เป็นที่อยู่อาศัยของแมวน้ำน้ำจืด 1 ในเพียง 3 สายพันธุ์ที่มีอยู่ในโลก
ยูเนสโก ประกาศให้ทะเลไบคาล เป็นมรดกโลกเมื่อปี 1996
ไบคาล เป็นทะเลสาบโบราณ มีอายุราว 25 - 30 ล้านปี และก็ถือกันว่าเป็นหนึ่งในทะเลสาบยุคโบราณที่สุดในทางธรณีวิทยา (อายุเฉลี่ยของทะเลสาบโลกอยู่ที่ 10 - 15 ล้านปี ) แต่โลกเพิ่งจะรู้จักมันดีแค่เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี่เอง คือในช่วงที่การก่อสร้างทางรถไฟสายทรานส์ไซบีเรีย เดินทางมาถึงที่นี่ในราวปี 1896 - 1902 เมื่อคณะนักสำรวจต้องเข้ามาทำแผนที่ความลึกของทะเลสาบ และก็เป็นครั้งนั้นเองที่รัสเซีย ได้พบกับความพิเศษของมัน กับการที่มันเป็นแหล่งเก็บกักน้ำจืดมากถึง 23,600 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 1 ใน 5 ของทั้งโลก
ทะเลสาบแห่งนี้ จริงๆแล้วก็คือหุบเขาที่เกิดจากการแยกตัวกันของเปลือกโลก ก้นทะเลสาบอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 1,285 เมตร แต่ถัดจากนั้นลงไปเป็นระยะทางถึงราว 7 กิโลเมตร ( หรือ 8 - 9 กิโลเมตรจากผิวน้ำ ) ก็คือชั้นตะกอน จึงถือได้ว่า นี่คือหุบเขาที่ลึกที่สุดในโลก
ใน ทางธรณีวิทยา หุบเขาแห่งนี้ค่อนข้างใหม่ จึงยังมีความเคลื่อนไหวอยู่มาก อย่างเช่นในแต่ละปี มันจะแยกตัวออกจากกันราว 2 เซ็นติเมตร แผ่นดินไหว และน้ำพุร้อน ก็พบได้ในหลายเขตของแถบนี้
เคย มีการเก็บเอาตัวอย่างตะกอนของไบคาลมาศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก ย้อนไปไกลถึงเมื่อ 250,000 ปีก่อน และในเร็วๆนี้ก็จะมีการเก็บตะกอนในระดับที่ลึกมากกว่าเดิม เพื่อให้สามารถศึกษาย้อนหลังกลับไปได้ไกลมากกว่าเดิม
ทรัพยากร น้ำจืดของไบคาล ได้มาจากแม่น้ำลำคลองรวม 330 สายที่ไหลลงมาที่นี่ ขณะเดียวกัน น้ำจากไบคาล ก็ไหลออกไปยังแม่น้ำสายเดียวคือ อันการ่า ที่ไหลลงแม่น้ำ เยนิเซ
แม้ว่าทะเลสาบจะลึกมาก แต่ระบบการหมุนเวียนของออกซิเจนในทะเลสาบ ก็ดำเนินไปเป็นอย่างดี สัตว์และพืชในน้ำจึงอยู่กันได้สบาย
แต่ เดิม ไบคาลคือธรรมชาติอย่างแท้จริง เพราะมีโรงงานมาตั้งอยู่ที่นี่แค่โรงเดียว แม้จะปล่อยน้ำเสียลงมาไม่น้อย แต่ไบคาลก็ยังสามารถรับได้ แต่เมื่อคนรัสเซียมีเงินมากขึ้น นักธุรกิจก็มีแผนมาตั้งโรงแรมหรูในแถบนี้ ก็ทำให้หลายคนเริ่มเป็นห่วงมากขึ้น
บริษัท น้ำมันรัสเซียก็เคยมีแผนจะวางท่อน้ำมันห่างจากเขตทะเลสาบแค่ 800 เมตร ซึ่งก็ทำให้หลายฝ่ายหวาดเสียว หากว่าท่อเกิดแตกขึ้นมา บรรดาสัตว์และพืชที่ไบคาล ซึ่งหาในที่อื่นใดไม่ได้อีกแล้วในโลก อาจจะเป็นอันตราย ประธานาธิบดีปูติน เลยสั่งให้ย้ายแนวท่อให้ห่างออกไป 40 กิโลเมตร

แผนที่

View ทะเลสาบไบคาล Lake Baikal in a larger map

หุบเขาจิ่วจ้ายโกว จิวไจ้โก Jiuzhaigou Valley จีน China

ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Jiuzhaigou_Valley






หุบเขาจิ่วจ้ายโกว 九寨沟


ทะเลสาบกระจกในหุบเขาจิ่วจ้ายโกว
พิกัด: 33°13′″N, 103°55′″E
ประเทศ: Flag of the People's Republic of China จีน
ที่ตั้ง: มณฑลเสฉวน
จัดตั้ง: 2521
เมืองใกล้ที่สุด: ซงพาน
พื้นที่ 600-720 ตารางกิโลเมตร
นักท่องเที่ยว: 1,190,000 คน (ปีงบประมาณ 2545)
หุบเขาจิ่วจ้ายโกว (จีนตัวย่อ: 九寨沟; จีนตัวเต็ม: 九寨溝; พินอิน: Jiǔzhàigōu; ความหมาย หุบเขาเก้าหมู่บ้าน; ภาษาทิเบต: Sicadêgu (gZi rTSa sDe dGu)) เป็นพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติทางตอนเหนือของมณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงจากน้ำตกหลายระดับชั้นและทะเลสาบที่มีสีสันงดงาม และได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535

[แก้] สภาพทางภูมิศาสตร์

จิ่วจ้ายโกวตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของเทือกเขาหมินซาน ห่างจากเมืองเฉิงตูไป ทางเหนือ 330 กิโลเมตร ถือเป็นส่วนหนึ่งของเทศมณฑล Nanping ในเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบตและเชียงอาป้า ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวน ใกล้เขตแดนของมณฑลกานซู
บริเวณหุบเขามีพื้นที่อย่างน้อย 240 ตารางกิโลเมตร ขณะที่องค์กรด้านการอนุรักษ์บางแห่งกำหนดให้มีพื้นที่ 600-700 ตารางกิโลเมตร โดยมีพื้นที่กันชนเพิ่มเข้ามา 400 - 600 ตารางกิโลเมตร ระดับความสูงจะแตกต่างไปตามแต่ละพื้นที่ โดยมีทั้งพื้นที่มีมีความสูง 1,998 - 2,140 เมตร (ที่ปากทางเข้าหุบเขาซูเจิ้ง) ไปจนถึง 4,558 - 4,764 เมตร (บนภูเขา Ganzigonggai ที่ส่วนยอดสุดของหุบเขา Zechawa)
สภาพอากาศในหุบเขาจัดว่าหนาวเย็น ตลอดปีมีอุณหภูมิเฉลี่ย 7.2 °C เดือนมกราคม -1 °C และเดือนกรกฎาคม 17 °C ปริมาณน้ำฝนตลอดทั้งปี 661 มิลลิเมตร โดยเป็นปริมาณระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมราว 80%

[แก้] ข้อมูลทางประวัติศาสตร์

พื้นที่อันห่างไกลแห่งนี้มีชาวทิเบตและเชียงตั้งรกรากอยู่มานานหลายศตวรรษ แต่ไม่ได้มีการสำรวจอย่างเป็นทางการจนกระทั่งปี พ.ศ. 2515 มีการทำธุรกิจตัดไม้อย่างหนักจนถึงปี พ.ศ. 2522 ซึ่งรัฐบาลจีนได้สั่งห้ามกิจการดังกล่าว และประกาศพื้นที่นี้เป็นอุทยานแห่งชาติในปี พ.ศ. 2525 จนกระทั่ง พ.ศ. 2527 จึงได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม โดยการวางกฎระเบียบและสถานที่ต่างๆภายในอุทยานเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2531 และในปี พ.ศ. 2535 องค์การยูเนสโกได้ประกาศพื้นที่นี้ให้เป็นมรดกโลก และเป็น World Biosphere Reserve ใน พ.ศ. 2540
ตั้งแต่เริ่มเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม จำนวนนักท่องเที่ยวได้เพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยในปี พ.ศ. 2527 มีนักท่องเที่ยว 5,000 คน พ.ศ. 2534 มี 170,000 คน พ.ศ. 2538 มี 160,000 คน และ พ.ศ. 2540 มี 200,000 คน โดยเป็นชาวต่างชาติประมาณ 3,000 คน ปี พ.ศ. 2545 มีผู้เยี่ยมชม 1,190,000 คน และในปี พ.ศ. 2547 มีผู้เยี่ยมชมเฉลี่ยวันละ 7,000 คน

แผนที่

View หุบเขาจิ่วจ้ายโกว จิวไจ้โก Jiuzhaigou Valley in a larger map

ถ้ำคริสตัลยักษ์ Cueva de los Cristales เม็กซิโก Maxico

ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Cave_of_the_Crystals




Cave of the Crystals or Giant Crystal Cave (Spanish: Cueva de los Cristales) is a cave connected to the Naica Mine 300 metres (980 ft) below the surface in Naica, Chihuahua, Mexico. The main chamber contains giant selenite crystals, some of the largest natural crystals ever found.[1] The cave's largest crystal found to date is 11 m (36 ft) in length, 4 m (13 ft) in diameter and 55 tons in weight. The cave is extremely hot with air temperatures reaching up to 58 °C (136 °F)[2] with 90 to 99 percent humidity. The cave is relatively unexplored due to these factors.[3] Without proper protection people can only endure approximately ten minutes of exposure at a time.[4]
A group of scientists known as the Naica Project have been heavily involved in researching these caverns.[5]

แปลโดย translate.google.com
ถ้ำของผลึกหรือถ้ำคริสตัลยักษ์ (สเปน : Cueva de los Cristales) เป็นถ้ำที่เชื่อมต่อกับเหมือง Naica 300 เมตร (980 ฟุต) ด้านล่างพื้นผิวใน Naica, ชีวาวา, เม็กซิโกที่ ห้องหลักประกอบด้วยผลึก selenite ยักษ์บางส่วนของคริสตัลธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดที่เคยพบ. [1] คริสตัลที่ใหญ่ที่สุดในถ้ำที่พบในวันที่เป็น 11 เมตร (36 ฟุต) ความยาว 4 เมตร (13 ฟุต) ในเส้นผ่าศูนย์กลางและ 55 ตันในน้ำหนัก . ถ้ำเป็นร้อนกับอุณหภูมิของอากาศถึงถึง 58 ° C (136 ° F) [2] ที่มีความชื้นร้อยละ 90-99 ถ้ำเป็นยังมิได้สำรวจค่อนข้างเนื่องจากปัจจัยเหล่านี้. [3] โดยไม่มีการป้องกันที่เหมาะสมคนเท่านั้นที่สามารถทนประมาณสิบนาทีของการเปิดรับได้ตลอดเวลา. [4]

กลุ่มของนักวิทยาศาสตร์ที่รู้จักกันเป็นโครงการ Naica ได้มีส่วนร่วมอย่างมากในการวิจัยถ้ำเหล่านี้. [5]


Formation of the crystals

Naica lies on an ancient fault and there is an underground magma chamber below the cave. The magma heated the ground water and it became saturated with minerals, including large quantities of gypsum. The hollow space of the cave was filled with this mineral rich hot water and remained filled for about 500,000 years. During this time, the temperature of the water remained very stable at over 50°C. This allowed crystals to form and grow to immense sizes.[6]

[edit] Discovery

In 1910 miners discovered a cavern beneath the Naica mine workings, the Cave of Swords (Spanish: Cueva de las Espadas). It is located at a depth of 120 m, above the Cave of Crystals, and contains spectacular, smaller (1 m long) crystals. It is speculated that at this level, transition temperatures may have fallen much more rapidly, leading to an end in the growth of the crystals.[1]
The Giant Crystal cave was discovered in 2000 by miners excavating a new tunnel for the Industrias Peñoles mining company located in Naica, Mexico,[7] while drilling through the Naica fault, which they were concerned would flood the mine.[8] The mining complex in Naica contains substantial deposits of silver, zinc, and lead.
The Cave of Crystals is a horseshoe-shaped cavity in limestone rock. Its floor is covered with perfectly-faceted crystalline blocks. Huge crystal beams jut out from both the blocks and the floor. The caves are accessible today because the mining company's pumping operations keep them clear of water. If the pumping were stopped, the caves would again be submerged. The crystals deteriorate in air, so the Naica Project is attempting to visually document the crystals before they deteriorate further. [9]
A further chamber was found in a drilling project in 2009. The new cave, named the Ice Palace, is 150 m deep and is not flooded, but its crystal formations are much smaller, with small 'cauliflower' formations and fine, threadlike crystals.[10]

[edit] Future closure

The cave was featured on the Discovery Channel program Naica: Beyond The Crystal Cave in February 2011. Exploration hinted at the existence of further chambers, but further exploration would have required demolition of the crystals. It was stated that the cave would eventually be resealed and the water level allowed to rise again.[11]

แปลโดย translate.google.com
การก่อตัวของผลึก
Naica ตั้งอยู่บนความผิดพลาดโบราณและมีห้องใต้ดินที่แมกมาด้านล่างถ้ำ แมกมาอุ่นน้ำพื้นดินและมันก็กลายเป็นอิ่มตัวกับแร่ธาตุรวมทั้งปริมาณมากจากยิปซั่ม ช่องว่างที่กลวงของถ้ำเต็มไปด้วยน้ำร้อนนี้ที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุและยังคงเต็มไปด้วยสำหรับประมาณ 500,000 ปี ในช่วงเวลานี้อุณหภูมิของน้ำที่ยังคงมีเสถียรภาพมากที่มากกว่า 50 ° C ผลึกนี้ได้รับอนุญาตให้รูปแบบและการเติบโตให้มีขนาดใหญ่. [6][แก้ไข] การค้นพบ
คนงานเหมืองในปี 1910 ค้นพบถ้ำใต้ Naica งานเหมือง, ถ้ำดาบ (สเปน : Cueva เดอลา Espadas) มันอยู่ที่ความลึกจาก 120 เมตร, ถ้ำดังกล่าวข้างต้นของผลึกที่งดงามและมีขนาดเล็กผลึก (1 เมตรยาว) มัน เป็นความคาดการณ์ว่าที่ระดับนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ลดลงอาจจะมีมาก ขึ้นอย่างรวดเร็วนำไปสู่​​การสิ้นสุดในการเจริญเติบโตของผลึกที่. [1]
ถ้ำ คริสตัลยักษ์ถูกค้นพบในปี 2000 โดยคนงานเหมืองขุดอุโมงค์ใหม่ของ บริษัท เหมืองแร่ INDUSTRIAS Peñoles ตั้งอยู่ใน Naica, เม็กซิโก, [7] ในขณะที่การขุดเจาะผ่านความผิดพลาดใน Naica ซึ่งพวกเขามีความกังวลจะน้ำท่วมเหมือง. [8] การทำเหมืองแร่ ที่ซับซ้อนใน Naica มีเงินฝากที่สำคัญของเงินสังกะสีและตะกั่ว
ถ้ำของผลึกเป็นช่องที่มีรูปทรงเกือกม้าในหินปูนหิน ชั้นที่ถูกปกคลุมด้วยผลึกบล็อกได้อย่างสมบูรณ์แบบเหลี่ยมเพชรพลอย คานขนาดใหญ่ที่โผล่ออกคริสตัลออกมาจากทั้งบล็อกและพื้น ถ้ำที่จะสามารถเข้าถึงได้ในวันนี้เนื่องจาก บริษัท เหมืองแร่ของการดำเนินงานสูบน้ำให้พวกเขาที่ชัดเจนของน้ำ หากมีการสูบน้ำได้ถูกหยุดถ้ำจะจมอยู่ใต้น้ำอีกครั้งจะ ผลึกลดลงในอากาศเพื่อให้โครงการ Naica จะพยายามที่จะมองเห็นผลึกเอกสารก่อนที่จะเสื่อมลงต่อไป [9]
ห้องต่อไปที่พบในโครงการขุดเจาะในปี 2009 ถ้ำ ใหม่ที่ชื่อว่าพระราชวังน้ำแข็งที่เป็น 150 เมตรลึกและน้ำท่วมไม่ได้เป็น แต่การก่อตัวของผลึกที่มีขนาดเล็กมากกับ formations ขนาดเล็ก'กะหล่ำ'และปรับผลึกเหมือนเส้นด้าย. [10][แก้ไข] ปิดในอนาคต
ถ้ำที่เป็นที่โดดเด่นใน Discovery Channel โปรแกรม Naica : Beyond ถ้ำคริสตัลในกุมภาพันธ์ 2011 สำรวจ hinted ที่การดำรงอยู่ของผู้พิพากษาต่อไป แต่การสำรวจต่อไปจะมีการรื้อถอนที่จำเป็นของผลึก มันถูกระบุว่าเป็นถ้ำที่จะได้รับการ resealed และระดับน้ำที่ได้รับอนุญาตให้เพิ่มขึ้นอีกครั้ง. [11]



แผนที่

View ถ้ำคริสตัลยักษ์ Cueva de los Cristales in a larger map

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

คลองเกาหลี คลองชองเกชอน คลองชองกเยชอน Cheonggyecheon โชล Seoul เกาหลี Korea

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%99





















คลองชองกเยชอน

คลองชองกเยชอน (เกาหลี: 청계천) เป็นคลองโบราณในสมัยราชวงศ์โชซอน อายุกว่า 600 ปี ความยาวประมาณ 5.84 กิโลเมตร ไหลผ่านย่านใจกลางกรุงโซล แต่ในช่วงค.ศ. 1957-ค.ศ. 1977 ได้มีการพัฒนาประเทศอย่างก้าวกระโดด ทำให้คลองถูกถมลงเป็นถนนและทางด่วน เกิดตึกสูงมากมาย คลองชองกเยชอนก็เริ่มเน่าเสียและตื้นเขิน เรียงไปด้วยชุมชนแออัด[1]
กระทั่งปีค.ศ. 2002 นายลี มยองปากได้รับตำแหน่งเป็นผู้ว่าการกรุงโซล เขาได้เสนอโครงการฟื้นฟูคลองชองกเยชอน โดยมีพ่อค้าแม่ค้าและประชาชนต่อต้านจำนวนมาก จนต้องมีการประชุมร่วมกันมากกว่า 2,000 ครั้ง แต่โครงการก็เริ่มขึ้นได้ด้วยดีในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2003 โดยเริ่มทุบทางด่วน และรื้อถนนโดยรอบมากมาย จนแล้วเสร็จในปีค.ศ. 2005 มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม [2] ท่ามกลางประชาชนเข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง ใช้งบประมาณกว่า 380,000,000,000 วอน (3 แสน 8 หมื่นล้านวอน)หรือราวๆ 1 หมื่นล้านบาท[3] พร้อมกับฟื้นฟูธรรมชาติสองฝั่งคลอง ตลิ่งถูกตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงาม และใช้วิธีขุดท่อผันน้ำจากแม่น้ำฮันเข้า มาที่ต้นคลอง แล้วไล่น้ำเสียออกทะเล มีการสร้างน้ำพุตลอดแนว เขื่อนชะลอความเร็วน้ำ ลานกิจกรรม ที่พักผ่อน และมีน้ำตกเป็นแนวกั้นน้ำฝน มีทางเดินเลียบคลอง และสะพานกว่า 22 แห่ง ซึ่งจัดให้ประชาชนร่วมออกแบบสะพานประกวด ทำให้สะพานทุกแห่งล้วนมีรูปแบบที่ไม่ซ้ำกันและแสดงออกถึงความเป็นเกาหลี[4] ส่งผลให้พื้นที่โดยรอบมีราคาเพิ่มสูงขึ้น กลายเป็นแหล่งที่อยู่ของคนรวย สำนักงานบริษัทชั้นนำ และคลองชองกเยชอนแห่งนี้ยังได้กลายมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในกรุงโซล


แผนที่

View คลองชองเกชอน in a larger map

yengo ad

BumQ